latest Post

ลูกจ้างต้องรู้ลาออกเลิกจ้าตกงาน ยื่นสิทธิ์ขอรับเงินประกันสังคมคืนได้ สูงสุดถึง7,500บาทต่อเดือน

ลูกจ้างต้องรู้ลาออกเลิกจ้าตกงาน ยื่นสิทธิ์ขอรับเงินประกันสังคมคืนได้ สูงสุดถึง7,500บาทต่อเดือน,ลูกจ้างต้องรู้ลาออกเลิกจ้าตกงาน ยื่นสิทธิ์ขอรับเงินประกันสังคมคืนได้ สูงสุดถึง7,500บาทต่อเดือน

ลู ก จ้ า ง ต้องรู้ ลา อ อ ก เลิกจ้า ต ก งาน ยื่นสิ ทธิ์ขอรับ เ งิ น ป ร ะกันสังคมคืนได้ สูง สุ ดถึง7,500 บ าทต่อเดื อ น

ม นุ ษย์เงิ นเดืนหาเขช้ากินค่ำแบบเราๆ บางคนก็ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจะโดนเอาเปรียบในเรื่งออะไรบ้าง วันนี้อย่าให้ ทางบริษัท เอาเปรียบเราได้ค่ะ

สำหรับลูกจ้างที่จ่ายเงิ นป ระกันสังคม สามารถยื่นสิ ทธิรับเงิ นชดเชยก ร ณีตกงาน ลาออ ก ถูกเลิกจ้าง

หรือว่างงานได้ สูงสุดเดือนละ 7500 บาท แต่จะมีรายละเอี ย ดและขั้ น ต อ นอย่างไรบ้างนั้น ต ามไปดูพร้ อ มกันเ ล ย

ก รณีที่บริษั ทเปิดโครงการให้ลูกจ้างลาออ กโดยสมัครใจลาออ ก ซึ่งลูกจ้างที่สมัครใจลาออ ก นอ ก จ ากจะได้รับค่าชดเชย จ ากนายจ้างแล้ว หากเป็นผู้ป ระกันตน ข องกองทุนป ระกันสังคม

ยังมีสิทธิได้รับเงิ นชดเชยก ร ณีว่างงาน และสิทธิป ระโยชน์อื่นๆ จ ากสำนักงานป ระกันสังคมอีกด้วย ส่วนรายละเอี ย ดว่าใครจะได้เท่าไหร่นั้นวันนี้เรามีมาให้ดูกันค่ะ

สำหรับพนักงานที่ทำงานป ระจำก็จะถูกบั ง คั บให้จ่ายค่าป ระกันสังคม และโดนหักออ กจากเงิ นเดือนทุกเดือนอยู่แล้ว ซึ่งเงิ นป ระกันสังคมนี้ ไม่ได้มีป ระโยชน์แค่ใช้ในการ รั ก ษ าพย าบาลเท่านั้นนะ

แต่ยังรวมถึงสิทธิป ระโยชน์อื่นๆอีกมากมาย อย่างก ร ณีว่างงาน คุณสามารถไปยื่นเรื่องเพื่อทำการกรอ กเอ กสารและรอรับเงิ นชดเชยได้ โดยมีรายละเอี ย ดต ามด้านล่ างนี้เ ล ยค่ะ

หลักเกณฑ์และสิทธิป ระโยชน์ จ ากป ระกันสังคม

หลักเกณฑ์ที่จะทำให้ท่านมีสิทธิ คือ เมื่อผู้ป ระกันตนจ่ายเงิ นสมทบ ม าแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน (ถูกเลิกจ้างหรือลาออ กหรือสิ้นสุดสัญญาจ้างต ามกำหนดระยะเวลา) โดยไม่มีความผิดต ามกฎห ม าย

ทั้งนี้ลูกจ้างต้องไปขึ้นทะเบี ย นผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางาน ข องรั ฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ว่างงาน โดยไม่ต้องรอหนังสือรับรองการออ ก จ ากงาน เพื่อเป็นการแสดงสิทธิ์ในเบื้องต้น เพื่อปฏิบัติต ามเงื่อนไข ข องสำนักงานป ระกันสังคมในบางอย่าง เช่น

 

มีความสา ม ารถในการทำงานและพร้อ มที่จะทำงานที่เห ม าะสมต ามที่จัดหาให้

ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน

ต้องรายงานต่อเจ้าหน้าที่สำนักจัดหางานไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง

อย่างไรก็ต าม มีบางก ร ณีที่ไม่สา ม ารถ ข อรับสิทธิป ระโยชน์ จ ากการว่างงานได้ เช่น

ทุ จ ริ ต ต่อหน้าที่ กระทำ ผิ ด อ า ญ า โดยเจตนาแก่นายจ้าง

จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเ สี ย ห า ย

ฝ่าฝืนข้อบั ง คั บ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎห ม ายในก ร ณีร้ า ย แ ร ง

ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร

ป ระ ม าทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเ สี ย ห า ย อ ย่ า ง ร้ า ย แ ร ง

ได้รับโ ท ษ จำ คุ ก ต า ม คำ พิ พ า ก ษ า

ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิได้รับป ระโยชน์ทดแทนในก ร ณีชราภาพ มีสิทธิรับป ระโยชน์ทดแทนเริ่มตั้งแต่วันที่ 8 นับแต่วันว่างงาน จ ากการทำงานกับนายจ้ างรายสุดท้าย

ไม่เป็นผู้ป ระกันตนโดยสมัครใจต าม ม าตรา 39

สิ ท ธิ ที่ท่านจะได้รับป ระโยชน์ทดแทน จ ากป ระกันสังคม

ก ร ณีถูกเลิกจ้าง

ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ข องค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณ จ ากฐานเงิ นสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บาท และฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท

ตัวอย่างเช่น ผู้ป ระกันตนมีเงิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 5,000 บาท

ก ร ณีลาออ กหรือสิ้นสุดสัญญ าจ้างต ามกำหนดระยะเวลา

ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัต ร าร้อยละ 30 ข องค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณ จ ากฐานเงิ นสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บาท และฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท

ตัวอย่างเช่น ผู้ป ระกันตนมีเงิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 3,000 บาท

เมื่อผู้ป ระกันตนสิ้นสุดความเป็นผู้ป ระกันตน (ลาออ ก) สา ม ารถใช้สิทธิป ระกันสังคมต่อได้อีก 6 เดือน

โดยมิต้องเสี ยค่าใช้จ่าย

(ก ร ณีเ จ็ บ ป่ ว ย หรือป ระสบอั นต ร ๅย ก ร ณี ค ล อ ดบุ ต ร ก ร ณีทุพ พ ล ภ าพและก ร ณีเสี ยชีวิต)

ป ระโยชน์ทดแทนทุกก ร ณีเมื่อมีสิทธิต้องยื่นเรื่องรับเงิ นภายใน 1 ปี เว้นแต่ ก ร ณีว่างงาน ผู้ป ระกันตนจะต้องยื่นขึ้นทะเบียนว่างงานที่สำนักงานจัดหางาน ข องรั ฐ ต้องยื่นสิทธิภายใน 30 วัน

หลัง จ ากถูกเลิกจ้างหรือลาออ ก จ ากงาน หากยื่นสิทธิเกินกว่า 30 วัน จะไม่ได้รับสิทธิย้อนหลัง และหากยื่นสิทธิเกินวันที่จะได้รับสิทธิไปแล้ว จะไม่ได้รับสิทธิป ระโยชน์ทดแทนก ร ณีว่างงาน

หลักฐานที่ต้องใช้เพื่อ ข อรับป ระโยชน์ทดแทน จ ากป ระกันสังคม ก ร ณีว่างงาน

แ บ บคำ ข อรับป ระโยชน์ทดแทนก ร ณีว่างงาน (สปส. 2-01/7)

บัตรป ระจำตัวป ระชาชน พร้อ มสำเนาบัตรป ระจำตัวป ระชาชน

รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)

หนังสือรับรองการออ ก จ ากงานหรือสำเนาแบบแจ้งการลาออ ก จ ากงาน ข องผู้ป ระกันตน (สปส.6-09) ก ร ณีที่ไม่มีสำเนา สปส.6-09 ก็สา ม ารถไปขึ้น

ทะเบียนก ร ณีว่างงานได้

หนังสือหรือคำสั่ง ข องนายจ้างให้ออ ก จ ากงาน (ถ้ามี)

สำเนาสมุดบัญชีเงิ นฝากธนาคารป ระเภท อ อ ม ทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี ข องผู้ป ระกันตน ผ่าน 11 ธนาคาร ดังนี้

1) ธ นาค ารกรุงศรีอยุธ ย า จำกัด (มหาชน)

2) ธน า คาร กรุงไทย จำกัด (มหาชน)

3) ธ น า คารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

4) ธน า ค า รไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

5) ธ น าคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

6) ธนาค ารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

7) ธ นาคารอิสลามแห่งป ระเทศไทย

8) ธนาค ารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)

9) ธน าคา รธนชาต จำกัด (มหาชน)

10) ธน าค ารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) (ไม่สา ม ารถใช้งานได้เนื่อง จ ากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)

11) ธ น า ค ารออ มสิน (ไม่สา ม ารถใช้งานได้เนื่อง จ ากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)

ขอบคุณข้อมูล จ าก เว็บไซต์สำนักงานป ระกันสังคม

ที่มา ra huslu b

 

 

 

,ลู ก จ้ า ง ต้องรู้ ลา อ อ ก เลิกจ้า ต ก งาน ยื่นสิ ทธิ์ขอรับ เ งิ น ป ร ะกันสังคมคืนได้ สูง สุ ดถึง7,500 บ าทต่อเดื อ น ม นุ ษย์เงิ ...

About TheeWay

TheeWay
Recommended Posts × +